พระเครื่องทั้งหมด 469 ชิ้น
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
   ประเภทพระเครื่อง
พระสมเด็จ (50) พระเนื้อดิน (29) พระเนื้อชิน (4) พระเนื้อผง (0) พระกริ่ง (0) พระรูปหล่อ (17) พระเหรียญ (61) เหรียญหล่อ (39) พระปิดตา (0) พระบูชา (0) เครื่องราง (31)
   เมนูช่วยเหลือ
วิธีการชำระเงิน
เงื่อนไขการรับประกัน
ติดต่อเรา
   สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 469 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 0 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 0 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 231 ชิ้น
   บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
  รับข่าวสารผ่าน SMS
หมายเลขโทรศัพท์

สมัคร ยกเลิกการรับข่าว
  ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อทองสุข วัดสะพานสูง
หลวงพ่อปี้ วัดด่านลานหอย
หลวงปู่โถม วัดธรรมปัญญาราม
หลวงปู่สวน วัดนาอุดม
หลวงปู่หมุน วัดเขาแดงตะวันตก
หลวงปู่กรับ วัดโกรกกราก
หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
หลวงพ่อเชิญ วัดโคกทอง
สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
หลวงพ่อนก วัดสังกะสี
หลวงพ่อแก้ว วัดพวงมาลัย
ครูบาหล้า วัดป่าตึง
พระอาจารย์วัน วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม
พระอาจารย์ปาล วัดเขาอ้อ
หลวงพ่ออั้น วัดพระญาติ
หลวงพ่อผ่อง วัดคูหาสวรรค์
หลวงพ่อหร่ำ วัดกร่าง
หลวงพ่ออ้น วัดบางจาก
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


พระเครื่องทามอมูเล็ตดอทคอม

มาดูพระดอทคอม

พระหลวงตา

ตือ (เจริญ) ท่าพระจันทร์

แป๊ะ บางกะพร้อม

 
ค้นหาประวัติคณาจารย์ผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อพิธ วัดฆะมัง / ผู้เข้าชม : 6614 คน
หลวงพ่อพิธ วัดฆะมัง  พิจิตร

ข้อมูลประวัติ หลวงพ่อพิธ วัดฆะมัง  พิจิตร

 เกิด                         พ.ศ. 2415

อุปสมบท                   ตามประวัติไม่ได้มีการระบุไว้แน่นอน

มรณภาพ                    พ.ศ. 2488    
  
รวมศิริอายุ                  75 ปี   

          ประวัติหลวงพ่อพิธ ศิษย์หลวงพ่อเงิน วัดฆะมัง ตำบลฆะมัง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร 

          นามเดิมของท่านคือ พิธ ขมินธกูล เกิดที่บ้านบางเพียร หมู่ ๔ ตำบลฆะมัง อำเภอเมืองจังหวัดพิจิตร เมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๔๑๘ (อังคาร แรม ๕ ค่ำ เดือน ๔ ปีกุน) เป็นบุตรของท่านหิรัญสมบัติ (ประดิษฐ์ ขมินธกูล) 

มีพี่น้อง ๓ คน ดังนี้ คือ 

๑. นายพิธ ขมินธกูล 

๒. นางไพ ขมินธกูล 

๓. นางพับ ขมินธกูล 

          ท่านได้อุปสมบทเมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ อายุได้ ๒๒ ปีเต็ม ณ พัทธสีมา วัดบึงตะโกน อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร ท่านศึกษาบวชเรียน อันวิชา ประกอบด้วยศิลปวิทยา เช่น 

๑. วิชาสมถะ และวิปัสสนา 

๒. วิชาคาถาอาคม ตลอดถึงคุณไสย 

๓. วิชาแพทย์แผนโบราณ 

          ด้วยวิชาดังกล่าวหลวงพ่อพิธต้องศึกษาเล่าเรียน ด้วยความมานะพยายามสามารถในการงานหลายอย่างจึง จำต้องจำพรรษาอยู่หลายวัดเช่น 

๑.วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดใหญ่) อ.เมือง จ.พิษณุโลก 

๒.วัดบางมูลนาก อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร 

๓.วัดท่าถนน จ.อุตรดิตถ์

๔.วัดหัวดง อ.เมือง จ.พิจิตร

๕.วัดวังปราบ จ.นครสวรรค์

๖.วัดบางคลาน อ.โพทะเล จ.พิจิตร

          หลวงพ่อพิธ มีความตั้งใจที่จะศึกษาเล่าเรียนธรรมด้วยจิตใจนอบน้อมถ่อมตน ทั้งกาย วาจา ใจ รับวิชาธรรมต่างๆ จากครูบาอาจารย์ ด้วยความตั้งใจมั่น จนเป็นพระผู้ซึ่งเป็นที่เชิดชูบูชาของมหาชนหลายจังหวัด สิ่งศักดิ์สิทธ์ที่หลวงพ่อพิธ ท่านได้สร้างไว้เป็นสิ่งอันระลึกถึง และยังสามารถขจัดปัดเป่าภัยพิบัติ ป้องกันสิ่งชั่วร้าย มี ๓ชนิด 

๑. ภาพถ่าย (รูปหลวงพ่อพิธ) เป็นภาพเล็กๆด้านหนึ่ง ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นภาพหลวงพ่อเงิน (พระอาจารย์ของหลวงพ่อพิธ) สามารถป้องกันภัย พิบัติจากไฟ 

๒. ตะกรุดมหารูด เป็นสิ่งที่มีเมตตามหานิยมและอยู่ยงคงกระพันในศัสตราวุธทั้งหลาย 

๓. ขี้ผึ้งวิเศษ เป็นนะเมตตาแก่ผู้พกพาและยังทำให้มีโชคลาภอย่างอัศจรรย์มีเรื่องเล่าแสดงอภินิหารอันมหัศจรรย์จากของ สิ่งที่ระลึกต่างๆจากหลายฝ่ายและหลายบุคคล อันยืนยันแรงศัทธาที่มีต่อหลวงพ่อพิธ เมื่อไปนมัสการท่านและขอสิ่งที่เป็นที่ระลึกจากท่าน จะเตือนเสมอว่าและขอสิ่งที่เป็นที่ระลึกจากท่าน จะเตือนเสมอว่าสิ่งที่มอบให้นี้ เป็นประหนึ่งว่าเราได้มาพบหน้าตากัน มีความเคารพต่อกันดุจญาติพี่น้องและสิ่งเหล่านี้ขอให้เข้าใจว่าเป็นอนุสรณ์ต่อกันเมื่ออยู่ห่างไกล สิ่งหนึ่งที่ควรไฝ่ใจมากๆคือ

๑. จงอย่าประมาท

๒. คุณพระพุทธคุณ คุณพระธรรม คุณพระ

สงฆ์ คุณบิดา คุณมารดา

๓.จงมีศีล มีสัตย์ ภัยพิบัติจะมาไม่ถึงเพราะมีอำนาจทิพย์คอยรักษาคุ้มครองอยู่

๔.เมื่อใดสิ่งของอันเป็นที่ระลึกแล้วควรมีปัญญาคือ อย่าเบียดเบียนผู้อื่นให้ได้รับทุกข์อุปมาดั่งวานรได้ดวงแก้วมิรู้คุณค่า เต้นไป เต้นมาลูกแก้วก็พลัดแตกไปอย่างเสียดาย ท่านทั้งหลายจึงต้องรู้จักใช้สติปัญญารักษาบูชาด้วยความเคารพหลวงพ่อพิธท่านมีบุญบารมีอยู่มากมายเป็นผู้มักน้อย สันโดษไม่สะสมเงินทองอันใดทั้งสิ้นแต่กระนั้นก็ยังมีหลักฐานปรากฎว่าท่านได้สร้างอุโบสถถึง ๕ หลังคือ

๑.วัดฆะมัง 

๒.วัดดงป่าคำใต้ (วัดใหม่คำวัน) 

๓.วัดบึงตะโกน 

๔.วัดสามขา

๕.วัดหัวดง

          เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๔๘๘ หลวงพ่อพิธ ก็ได้ถึงแก่กาลมรณภาพด้วยโรคชรา ใน อาการที่สงบ ณ วัดฆะมัง อ.เมือง จ.พิจิตรรวมอายุได้ ๗0 ปีท่านจากไปโดยทิ้งอำนาจบุญกุศลที่ท่านทิ้งไว้เพื่อบรรพชนรุ่นหลัง

          ภายหลังการมรณภาพบรรดาลูกศิษย์ และฆราวาสได้อย่างพร้อมใจกันจัดงานเผ่าศพท่าน มีผู้คนหลั่งไหลมาอย่างนับไม่ถ้วนด้วยแรงศัทธาจากปวงชนหลายๆจังหวัด เมื่อถึงวันสุดท้ายของงานมีการเก็บอัฐิของหลวงพ่อพิธโดยมี พระอธิการทานเจ้าอาวาสเป็นผู้ชักบังสุกุลและเก็บอัฐิเป็นที่น่าอัศจรรย์และน่าศึกษาที่สุด คือ ดวงตาของหลวงพ่อพิธทั้งสองไม่ไหม้ไฟหลายท่านกล่าวว่าหลวงพ่อพิธของพวกเรามีดวงตาวิเศษอย่างแน่นอนในกาลต่อมาไม่นานนัก คณะกรรมการผู้เก็บรักษาดวงตาซึ่งไม่ไหม้ไฟของหลวงพ่อพิธ ได้ประชุมและร่วมปัจจัยกัน ในการหล่อรูปเหมือนเท่าองค์จริงของหลวงพ่อพิธ และบรรจุดวงตาของท่านไว้ เพื่อเป็นที่สักการะในความศรัทธาที่มีต่อท่าน ณ วัดฆะมังอำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร ตราบเท่าทุกวันนี้ กิตติคุณ อันสูงยิ่งของหลวงพ่อพิธ ทำให้เราชนรุ่นหลังยังคงระลึกถึงท่าน มีความศรัทธาต่อท่านไม่มีวันเสื่อมคลาย

          ผู้จัดทำประวัติ ตามคำบวกของหลวงพ่อทาน อดีตเจ้าอาวาส

สจ.อดุลย์ ศรีสุเทพ

สจ. สถาภร เจียมศรีชัย 

คุณปัญญา ประเสริฐชัย

กำนันพงศ์ศักดิ์ เจียมศรีพงษ์ 
 

วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

          ตามคำบอกเล่าสืบทอดกันมา วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม คือ ตะกรุด  ซึ่งมีรูแบบต่างๆ       โดยท่านได้เรียนมาจากหลวงพ่อเงิน วัดบางบางคลาน โดยส่วนใหญ่ตะกรุดของท่านจะเป็นตะกั่วเนื้ออ่อนมีอั่วทองเหลืองเป็นแกนกลาง

พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา

          พุทธคุณในเหรียญรุ่นนี้เด่นทาง อยู่ยงคงกะพัน และเมตตามหานิยม     


** อนุญาติให้ข้อมูลทั้งหมดในเว็บไซต์ ทรูอมูเล็ต ดอทคอม สามารถ อ่าน คัดลอก ตัดแปลง ได้ตามที่ใจท่านต้องการ เพื่อความรู้และการศึกษา โดยไม่ต้องขออนุญาติ ข้อมูลทั้งหมดได้มาจากสื่อสาธารณะที่มีประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ไม่ได้เสียเงินสักบาท และไม่ได้ทำเพื่อผลประโยชน์ทางการค้า ให้คนเข้าเว็บเยอะ ๆ จะได้ขายของได้เยอะ ๆ มีโฆษณามาลงเยอะ ๆ และอีกอย่างหนึ่งเพราะว่าตายไปผมก็เอาไม่ได้ ถ้าหวงนักผมขอแนะนำว่าอย่านำมาลง ให้ปิดเว็บทิ้งไปเลยจะดีกว่าอย่าทำเลย
 
พระเครื่องอื่น ๆ
ไม่พบพระเครื่องในฐานข้อมูล หมวดหมู่นี้
 
   ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

   พระเครื่องแนะนำ

หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก(1-69) เหรียญไข่เล็กหลังยันต์พุท-ธะ-สัง-มิเนื้อเงินสวยเกจิยุคเก่าพศ2490จ.อยุธยา 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อทวด วัดช้างให้ ปัตตานี (1-59) เหรียญเม็ดแตงบล็อกหน้าผาก3เส้นหนังสือเลยหูปี06เนื้ออัลปาก้าสภาพสวย 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อโต กรุวัดบางกระทิง(9-21) พิมพ์มารวิชัยเนื้อดินเผาพระส่งประกวดติดโบว์รังวัลที่3ที่ตั้งฮั่วเส้งธนบุรีจ.อยุธยา 

โทรถาม บาท


หลวงปู่กลิ่น วัดสะพานสูง(1-59) ตะกรุดแกนฝาบาตรขนาดยาว2.5นิ้วถักเชือกขึ้น4เสาจุ่มรักแดงจ.นนทบุรี 

โทรถาม บาท


พระคง กรุวัดคงฤาษี จลำพูน(2-29) เนื้อดินเผาเนื้อหาสีเหลืองพิกุลแห้งฟอร์มพระใบโพธิ์เด้งชัดลึกดีครับ 

โทรถาม บาท


เจ้าคุณศรี-สนธิ์ วัดสุทัศน์ฯกทม(6-33) เหรียญหล่อพระประจำวันพิมพ์นาคปรกวันเสาร์นิยมสุดเนื้อทองผสมพศ2494 

โทรถาม บาท


พระเนื้อผง วัดท้ายตลาด(4-21) พิมพ์พุทธกวักเนื้อผงผสมใบลานกลุ่มพิมพ์นิยมมาพร้อมกับคราบไขกรุ 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อทองสุข วัดสะพานสูง(1) พระปิดตาพิมพ์ตะพาบเข่ากว้าง-สะดือจุ่นเนื้อผงจุ่มรักยุคต้นพศ2495จ.นนทบุรี 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อเนียม วัดน้อย จ.สุพรรณฯ(1) ลูกอมเนื้อเมฆพัดเกจิยุคเก่ารุ่นเล่นแร่แปรธาตุเคล็ด-กลับร้ายกลายเป็นดี 

26,000 บาท


พระพุทธชินราชอินโดจีน กทม(5-37) พิมพ์ต้อบัวเล็บช้างเนื้อทองผสมฟอร์มพระดีมากฯเทหล่อได้ล่ำบึกมีโค๊ต 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ (1) สิงห์งาแกะศิลป์คอม้าหัวมังกรพิมพ์มาตราฐานที่เล่นหากันจ.สุพรรณบุรี 

11,500 บาท


พระขุนแผน วัดบ้านกร่าง(2-320) พลายคู่ตัดเดียวหน้ามงคลกลางฟอร์มพระดีมากหน้าตาติดชัดจ.สุพรรณบุรี 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ อ่างทอง (0-52) เหรียญหล่อสมเด็จมีหูพิมพ์แหลมเนื้อทองผสมติดที่3งานศูนย์ราชการกทม 

โทรถาม? บาท


หลวงพ่อโบ้ย วัดมะนาว (4-390) เหรียญหล่อนาคปรก5เนื้อทองผสมติดรังวัลที่2ศูนย์ราชการงานของสมาคมฯ 

โทรถาม? บาท


พระอู่ทองฐานผ้าทิพย์ กรุวัดเทวสังฆาราม เนื้อชินเงินขึ้นกรุมาพร้อมกับพระท่ากระดาน1ใน5ชุดยอดขุนพลเนื้อชิน 

17,000 บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
   เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด