พระเครื่องทั้งหมด 465 ชิ้น
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
   ประเภทพระเครื่อง
พระสมเด็จ (49) พระเนื้อดิน (29) พระเนื้อชิน (4) พระเนื้อผง (0) พระกริ่ง (0) พระรูปหล่อ (17) พระเหรียญ (60) เหรียญหล่อ (38) พระปิดตา (0) พระบูชา (0) เครื่องราง (31)
   เมนูช่วยเหลือ
วิธีการชำระเงิน
เงื่อนไขการรับประกัน
ติดต่อเรา
   สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 465 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 0 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 0 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 228 ชิ้น
   บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
  รับข่าวสารผ่าน SMS
หมายเลขโทรศัพท์

สมัคร ยกเลิกการรับข่าว
  ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อทองสุข วัดสะพานสูง
หลวงพ่อปี้ วัดด่านลานหอย
หลวงปู่โถม วัดธรรมปัญญาราม
หลวงปู่สวน วัดนาอุดม
หลวงปู่หมุน วัดเขาแดงตะวันตก
หลวงปู่กรับ วัดโกรกกราก
หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
หลวงพ่อเชิญ วัดโคกทอง
สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
หลวงพ่อนก วัดสังกะสี
หลวงพ่อแก้ว วัดพวงมาลัย
ครูบาหล้า วัดป่าตึง
พระอาจารย์วัน วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม
พระอาจารย์ปาล วัดเขาอ้อ
หลวงพ่ออั้น วัดพระญาติ
หลวงพ่อผ่อง วัดคูหาสวรรค์
หลวงพ่อหร่ำ วัดกร่าง
หลวงพ่ออ้น วัดบางจาก
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


พระเครื่องทามอมูเล็ตดอทคอม

มาดูพระดอทคอม

พระหลวงตา

ตือ (เจริญ) ท่าพระจันทร์

แป๊ะ บางกะพร้อม

 
สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)
�� � � � �สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชประดิษฐ์ สถิตมหาสีมาราม �ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2436 ถึงปี พ.ศ. 2442 รวม 6 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อพระชนมายุ 87 พรรษา

�� � � � �พระองค์เป็นชาวตำบลบางไผ่ จังหวัดนนทบุรี ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2356 �ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้บรรพชาเป็นสามเณรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฯ �เดิมอยู่วันใหม่บางขุนเทียน แล้วย้ายไปอยู่วัดสังเวชวิศยาราม และไปเรียนพระปริยัติธรรมในพระราชวังบวร กับอาจารย์อ่อน และโยมบิดาของท่านเองซึ่งเป็นอาจารย์บอกหนังสือ อยู่ที่พระราชวังบวรดัวยกัน เมื่อพระชนมายุได้ 14 ปี �ได้เข้าแปลพระปริยัติธรรมเป็นครั้งแรก แปลได้ 2 ประโยค จึงยังไม่ได้เป็นเปรียญ แต่คนเรียกกันว่า เปรียญวังหน้า ซึ่งมีที่มาของชื่อนี้ว่า ในการแปลพระปริยัติธรรมนั้น ผู้เข้าแปลครั้งแรกต้องแปลให้ได้ครบ 3 ประโยคในคราวเดียว จึงจะนับว่าเป็นเปรียญ ถ้าได้ไม่ครบในการสอบครั้งต่อไป จะต้องเริ่มต้นใหม่ทั้งหมด ครั้งนั้นกรมพระราชวังบวรมหาศักดิ์พลเสพ มีพระประสงค์ที่จะอุปการะภิกษุสามเณรที่เข้าสอบ มิให้ท้อถอย ดังนั้นถ้ารูปใดแปลได้ 2 ประโยค �ก็ทรงรับอุปการะไปจนกว่าจะสอบเข้าแปลใหม่ ได้เป็นเปรียญ 3 ประโยค ภิกษุ สามเณร ที่ได้รับพระราชทานอุปการะในเกณฑ์ดังกล่าว จึงได้ชื่อว่า เปรียญวังหน้า

�� � � � �พระองค์ได้เข้าถวายตัวเป็นศิษย์อยู่ในสำนักพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ ตั้งแต่เป็น สามเณร และได้ศึกษาพระปริยัติธรรมต่อที่สำนักวัดราชาธิวาส จนพระชนมายุได้ 18 ปี จึงได้เข้าแปลพระปริยัติธรรม �อีกครั้งหนึ่ง �และทรงแปลได้หมดทั้ง �9 �ประโยค �ได้เป็นเปรียญเอก � ตั้งแต่ยังทรงเป็นสามเณร นับ เป็นสามเณรองค์แรกที่ได้เป็นเปรียญ 9 ประโยค ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

�� � � � �พระองค์ได้อุปสมบท ณ วัดราชาธิวาส เมื่อปี พ.ศ. 2376 �ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2379 ได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ มาอยู่ที่วัดบวรนิเวศ ฯ ทรงได้รับพระราชทาน แต่งตั้งเป็นพระราชาคณะที่ พระอมรโมลี เมื่อปี พ.ศ. 2382 พรรษา 6 และทรงอยู่ในฐานะพระเถระผู้ใหญ่ ผู้เป็นต้นวงศ์ของคณะธรรมยุตรูปหนึ่งใน 10 รูป ต่อมาได้ลาสิกขาไปเป็นฆราวาสอยู่ระยะหนึ่ง ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ ได้โปรดเกล้า ฯ ให้อุปสมบทใหม่ ที่วัดบวรนิเวศ ฯ เมื่อปี พ.ศ. 2394 พระชนมายุได้ 38 ปี เมื่ออุปสมบทแล้ว ว่ากันว่า ได้ทรงเข้าแปลพระปริยัติธรรมอีกครั้งหนึ่ง และทรงแปลได้หมดทั้ง 9 ประโยค จึงมีผู้กล่าวถึงพระองค์ด้วยสมญานามว่า สังฆราช 18 ประโยค �ในคราวอุปสมบทครั้งที่ 2 นี้ พระองค์ทรงเป็นพระอันดับอยู่ 7 ปี จึงได้รับแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะที่ พระสาสนโสภณ เมื่อปี พ.ศ. 2401 รับประราชทานนิตยภัตรเสมอพระราชาคณะชั้นเทพ แต่ถือตาลปัตรแฉกเสมอพระราชาคณะชั้นสามัญ คนทั่วไปเรียกกันโดยย่อว่า เจ้าคุณสา

�� � � � �พระองค์ได้แต่งหนังสือเทศน์ขึ้นไว้ สำหรับใช้อ่านในวันธรรมสวนะปกติ และในวันบูชา �แต่งเรื่องปฐมสมโพธิ์ย่อ 3 กัณฑ์จบ สำหรับถวายเทศน์ในวันวิสาขบูชา 3 วัน ๆ ละ หนึ่งกัณฑ์ และเรื่องจาตุรงคสันนิบาตกับโอวาทปาติโมกข์ สำหรับถวายในวันมาฆบูชาที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม �และยังได้ รจนาปฐมสมโพธิ์ภาคพิสดาร สำหรับใช้เทศนาในวัด 2 คืนจบอีกด้วย พระนิพนธ์ต่าง ๆ ของพระองค์ ยังคงใช้ ในการเทศนา �และศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุ สามเณร จนถึงปัจจุบัน
เมื่อสร้างวัดราชประดิษฐ์ ฯ เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2408 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ ได้โปรดเกล้า ฯ ให้อาราธนาพระองค์ ครั้งยังเป็นที่พระสาสนโสภณ จากวัดบวรนิเวศ ฯ มาครองวัดราชประดิษฐ์ ฯ � เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก และได้รับพระราชทานตาลปัตรแฉกพื้นแพรเสมอชั้นธรรม และเมื่อปี พ.ศ. 2415 �พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ได้โปรดเกล้า ฯ สถาปนาเลื่อนสมณศักดิ์ ขึ้นเป็นพระราชาคณะชั้นเจ้าคณะรองที่ พระธรรมวโรดม �แต่คงใช้ราชทินนามเดิมว่า พระสาสนโสภณ �ที่พระธรรมวโรดม ต่อมา เมื่อปี �พ.ศ. 2422 �ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ �เจ้าคณะฝ่ายเหนือ

�� � � � �ในปี พ.ศ. 2431 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ทำการสังคายนาพระไตรปิฎก ซึ่งแต่เดิมจารึกไว้ด้วย อักษรขอม ด้วยการจารลงในใบลาน การคัดลอกทำได้ช้า ทำให้ไม่เป็นที่แพร่หลาย ไม่พอใช้ในการศึกษาเล่าเรียน ไม่สะดวกในการเก็บรักษา และนำมาใช้อ่าน ทั้งตัวอักษรขอมก็มีผู้อ่านได้น้อยลงตามลำดับ การพิมพ์พระไตรปิฎก เป็นเล่มด้วยตัวอักษรไทย จะแก้ปัญหาข้อขัดข้องดังกล่าวได้ �จึงได้โปรดเกล้า ฯ ให้อาราธนาพระเถระนุเถระมาประชุม ร่วมกับราชบัณฑิตทั้งหลาย ตรวจชำระพระไตรปิฎก แล้วจัดพิมพ์เป็นเล่มหนังสือขึ้น สมเด็จพระสังฆราช (สา) ขณะทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ร่วมกับสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ขณะทรงดำรงพระยศกรมหมื่น เป็นรองอธิบดี จัดการทั้งปวงในการสังคายนาครั้งนี้ พระไตรปิฎกที่จัดพิมพ์ครั้งนี้มีจำนวน 1000 จบ ๆ ละ 39 เล่ม ใช้เงิน 2000 ชั่ง พิมพ์เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2436 เป็นที่เลื่องลือแพร่หลายไปทั่วโลก

�� � � � �ในปี พ.ศ. 2434 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ได้โปรดเกล้า ฯ สถาปนาเพิ่มอิสริยยศให้เป็น พิเศษกว่าสมเด็จพระราชาคณะแต่ก่อนมา คือทรงสถาปนาให้เป็น สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ �นับว่าเป็น พระมหาเถระรูปที่ 2 ที่ได้รับสถาปนาในพระราชทินนามนี้ อันเป็นพระราชทินนามสำหรับตำแหน่ง สมเด็จพระสังฆราช

�� � � � �เมื่อพระองค์ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราช เมื่อปี พ.ศ. 2436 พระองค์ไม่ได้รับพระราชนาม �พระสุพรรณบัตรใหม่ คงใช้พระสุพรรณบัตรเดิม �แต่ได้รับพระราชทานใบกำกับ พระสุพรรณบัตรใหม่

�� � � � �งานพระนิพนธ์ของพระองค์มีอยู่เป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นงานแปลพระสูตรที่มีอยู่ 20 สูตร หนังสือเทศนามี �70 �กัณฑ์ �และเบ็ดเตล็ดมี �5 เรื่อง

�� � � � �พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อปี พ.ศ. 2442 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ก็มิได้ทรงสถาปนา �พระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกเลยตลอดรัชสมัย เป็นเวลาถึง 11 ปี

 
 
   ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

   พระเครื่องแนะนำ

หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก(1-69) เหรียญไข่เล็กหลังยันต์พุท-ธะ-สัง-มิเนื้อเงินสวยเกจิยุคเก่าพศ2490จ.อยุธยา 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อทวด วัดช้างให้ ปัตตานี (1-59) เหรียญเม็ดแตงบล็อกหน้าผาก3เส้นหนังสือเลยหูปี06เนื้ออัลปาก้าสวย.. 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อโต กรุวัดบางกระทิง(9-23) พิมพ์มารวิชัยเนื้อดินเผาพระส่งประกวดติดโบว์รังวัลที่3ที่ตั้งฮั่วเส้งธนบุรีจ.อยุธยา 

โทรถาม บาท


หลวงปู่กลิ่น วัดสะพานสูง(1-59) ตะกรุดแกนฝาบาตรขนาดยาว2.5นิ้วถักเชือกขึ้น4เสาจุ่มรักแดงจ.นนทบุรี 

โทรถาม บาท


พระคง กรุวัดคงฤาษี จลำพูน(2-31) เนื้อดินเผาเนื้อหาสีเหลืองพิกุลแห้งฟอร์มพระใบโพธิ์เด้งชัดลึกดีครับ 

โทรถาม บาท


เจ้าคุณศรี-สนธิ์ วัดสุทัศน์ฯกทม(6-33) เหรียญหล่อพระประจำวันพิมพ์นาคปรกวันเสาร์นิยมสุดเนื้อทองผสมพศ2494 

โทรถาม บาท


พระเนื้อผง วัดท้ายตลาด(4-21) พิมพ์พุทธกวักเนื้อผงผสมใบลานกลุ่มพิมพ์นิยมมาพร้อมกับคราบไขกรุ 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อทองสุข วัดสะพานสูง(1) พระปิดตาพิมพ์ตะพาบเข่ากว้าง-สะดือจุ่นเนื้อผงจุ่มรักยุคต้นพศ2495จ.นนทบุรี 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อเนียม วัดน้อย จ.สุพรรณฯ(1) ลูกอมเนื้อเมฆพัดเกจิยุคเก่ารุ่นเล่นแร่แปรธาตุเคล็ด-กลับร้ายกลายเป็นดี 

26,000 บาท


พระพุทธชินราชอินโดจีน กทม(5-350) พิมพ์ต้อบัวเล็บช้างเนื้อทองผสมฟอร์มพระดีมากฯเทหล่อได้ล่ำบึกมีโค๊ต 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ (1) สิงห์งาแกะศิลป์คอม้าหัวมังกรพิมพ์มาตราฐานที่เล่นหากันจ.สุพรรณบุรี 

11,500 บาท


พระขุนแผน วัดบ้านกร่าง(2-320) พลายคู่ตัดเดียวหน้ามงคลกลางฟอร์มพระดีมากหน้าตาติดชัดจ.สุพรรณบุรี 

โทรถาม บาท


หลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ อ่างทอง (0-52) เหรียญหล่อสมเด็จมีหูพิมพ์แหลมเนื้อทองผสมติดที่3งานศูนย์ราชการกทม 

โทรถาม? บาท


หลวงพ่อโบ้ย วัดมะนาว (4-390) เหรียญหล่อนาคปรก5เนื้อทองผสมติดรังวัลที่2ศูนย์ราชการงานของสมาคมฯ 

โทรถาม? บาท


พระอู่ทองฐานผ้าทิพย์ กรุวัดเทวสังฆาราม เนื้อชินเงินขึ้นกรุมาพร้อมกับพระท่ากระดาน1ใน5ชุดยอดขุนพลเนื้อชิน 

17,000 บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
   เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด